นูรมา สะบือลา เป็นอาจารย์ประจำวิชาเคมี และมีนักวิทยาศาสตร์เป็นผู้ช่วยแลปปฏิบัติการกับนักเรียน
วัตถุประสงค์
สารตั้งต้นผสมกันแล้วเกิดเป็นสารผลิตภัณฑ์ขึ้น ซึ่งจัดว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ใน การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารมีระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงเร็วช้าต่างกันในการศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณสารที่เปลี่ยนไปกับช่วงเวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงนั้นอยู่ในรูปความสัมพันธ์ที่เรียกว่า“อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การวัดปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหรือสารตั้งต้นที่ลดลง อาจทำได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับ ลักษณะและสมบัติของสาร เช่น ชั่งมวลเมื่อสารเป็นของแข็ง วัดปริมาตรเมื่อสารเป็นก๊าซหรือวัด ความเข้มข้นเมื่อเป็นสารละลาย ส่วนเวลาวัดเป็นวินาที นาที หรือชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยา ว่าจะเกิดเร็วช้าเพียงใด
วัตถุประสงค์
1. ทดลองเพื่อศึกษาผลของความเข้นข้น พื้นที่ผิว และอุณหภูมิต่อต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. อธิบายผลของความเข้มข้น พื้นที่ผิว และอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
หลักกการ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การที่สารตั้งต้น (reactant) เปลี่ยนไปเป็นสารใหม่หรือ เรียกว่า สารผลิตภัณฑ์(product) โดยปริมาณหรือความเข้มข้นของสารตั้งต้นจะลดลง แต่ปริมาณหรือความ เข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น สารตั้งต้นผสมกันแล้วเกิดเป็นสารผลิตภัณฑ์ขึ้น ซึ่งจัดว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ใน การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารมีระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงเร็วช้าต่างกันในการศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณสารที่เปลี่ยนไปกับช่วงเวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงนั้นอยู่ในรูปความสัมพันธ์ที่เรียกว่า“อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การวัดปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหรือสารตั้งต้นที่ลดลง อาจทำได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับ ลักษณะและสมบัติของสาร เช่น ชั่งมวลเมื่อสารเป็นของแข็ง วัดปริมาตรเมื่อสารเป็นก๊าซหรือวัด ความเข้มข้นเมื่อเป็นสารละลาย ส่วนเวลาวัดเป็นวินาที นาที หรือชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยา ว่าจะเกิดเร็วช้าเพียงใด
สรุปผลการทดลอง
การเพิ่มความเข้มข้น การเพิ่มพิ้นที่ผิวของสารตั้งต้น และการเพิ่มอุณหภูมิ เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วขึ้น
นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติ "Learning by Doing"
ตอบลบ