เมื่อวันที 3 มีนาคม 2563 เวลา 13.00 - 15.00 น.ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในโครงการ SMP โรงเรียนมะอาหัดอิสลามียะห์ ได้มีการจัดการเรียนการสอนเสริม รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ศึกษาระบบทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การศึกษาลักษณะของไส้เดือนดิน
1. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน วางไส้เดือนดินไว้ในถาดผ่าตัด
1.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สี ลักษณะของผิวลำตัวปาก ทวารหนัก
1.4 ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus)
1.5 ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
ลักษณะภายนอกโดยทั่วไปของไส้เดือนดิน
ลักษณะ ภายนอกที่เด่นชัดของไส้เดือนดินคือการที่มีลำตัวเป็นปล้องตั้งแต่ส่วนหัว จนถึงส่วนท้าย มีรูปร่างเป็นรูปทรงกระบอก มีความยาว ในแต่ละชนิดไม่เท่ากัน เมื่อโตเต็มที่จะมีปล้องประมาณ 120 ปล้อง แต่ละปล้องจะมีเดือยเล็กๆ เรียงอยู่โดยรอบปล้อง ไม่มีส่วนหัวที่ชัดเจน ไม่มีตา มีไคลเทลลัม ซึ่งจะเห็นได้ชัด ในระยะสืบพันธุ์ และยังประกอบด้วยอวัยวะต่างๆที่สำคัญ
1. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน วางไส้เดือนดินไว้ในถาดผ่าตัด
1.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สี ลักษณะของผิวลำตัวปาก ทวารหนัก
1.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปาก ผ่าตามแนวข้างลำตัวไปจนตลอดลำตัว ระมัดระวังอย่าให้ โดนอวัยวะภายใน
1.3 ใช้เข็มหมุดดึงผิวหนังให่แผ่กว้างตลอดลำตัว1.4 ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus)
1.5 ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
ลักษณะภายนอกโดยทั่วไปของไส้เดือนดิน
ลักษณะ ภายนอกที่เด่นชัดของไส้เดือนดินคือการที่มีลำตัวเป็นปล้องตั้งแต่ส่วนหัว จนถึงส่วนท้าย มีรูปร่างเป็นรูปทรงกระบอก มีความยาว ในแต่ละชนิดไม่เท่ากัน เมื่อโตเต็มที่จะมีปล้องประมาณ 120 ปล้อง แต่ละปล้องจะมีเดือยเล็กๆ เรียงอยู่โดยรอบปล้อง ไม่มีส่วนหัวที่ชัดเจน ไม่มีตา มีไคลเทลลัม ซึ่งจะเห็นได้ชัด ในระยะสืบพันธุ์ และยังประกอบด้วยอวัยวะต่างๆที่สำคัญ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตั้งใจศึกษาลักษณะภายนอกและภายในของไส้เดือนดิน ตื่นเต้น ดีใจ และสนุกกับการทำแล็ปปฏิบัติการมากๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น